ประเพณีกินข้าวห่อของชาวกะเหรี่ยง จะเริ่มในเดือนเก้า (ประมาณสิงหาคม) ชาวกะเหรี่ยง เรียกเดือนนี้ว่า "หล่าค่อก" ประเพณีนี้เริ่มขึ้นหลังจากที่ชาวกะเหรี่ยงเสร็จจากการเพาะปลูกแล้วแต่ยังไม่ถึงฤดูเก็บเกี่ยว ความเชื่อของชาวกะเหรี่ยงต่อเดือนเก้า "หล่าค่อก" นั้นมีความเชื่อว่าเดือนนี้ไม่ดี เพราะบรรดาวิญญาณชั่วของภูติผีปีศาจจะออกหากินอย่างมากมาย และสิ่งที่วิญญาณชั่วจะกินคือ "ขวัญ" ของชาวกะเหรี่ยง ที่เร่ร่อนไปมาไม่อยู่กับเนื้อกับตัว และเมื่อขวัญของชาวกะเหรี่ยงถูกวิญญาณชั่วจับไป เจ้าของขวัญจะเกิดการเจ็บไข้ได้ป่วย และอาจถึงแก่ชีวิตได้ เพราะชาวกะเหรี่ยงมีความเชื่อว่าทุกคนที่เกิดมาจะต้องมีขวัญ ขวัญคือ ผู้ที่จะทำให้เจ้าของสุขสบายหรือเจ็บป่วยก็ได้....
สิ่งที่ได้รับจากการกินข้าวห่อ1. ชาวกะเหรี่ยงมีความรักความสามัคคีจากการที่ได้กินข้าวห่อร่วมกัน2.มีมาการไปมาหาสู่เยี่ยมเยือนซึ่งกันและกันทำให้มีความรู้จักและสังคม กันมากขึ้น3. หนุ่มสาวชาวกะเหรี่ยงมีโอกาสได้ทำความรู้จักทำความเข้าใจกัน เป็นโอกาส ที่หนุ่มสาวจะแสวงหาเพื่อนใจไว้สำหรับเป็นเพื่อนคู่คิดมิตรคู่ใจ4. ชาวกะเหรี่ยงมีความเชื่อเกี่ยวกับขวัญที่ดี และไม่ดี ถ้าขวัญไม่อยู่กับตัวจะทำ ให้เกิดเจ็บไข้ได้ป่วย ดังนั้นจึงมีการเรียกขวัญให้อยู่กับเนื้อกับตัว5. ชาวกะเหรี่ยงได้รับความสนุกสนานรื่นเริงจากการกินข้าวห่อ จากบรรยากาศที่มี เสียงเพลงกะเหรี่ยง เป็นต้น ปัจจุบันพบว่า การกินข้าวห่อได้แพร่หลายมาก คนไทยทั้งใกล้และไกล ก็ได้มีโอกาสเข้าร่วมงานนี้ด้วย บ้านกะเหรี่ยงหมู่ไหนที่จัดงานกินข้าวห่อก็จะคลาคล่ำไปด้วยผู้คนทั้งและกะเหรี่ยงและไทย จนแยกกันดูไม่ออก....***
วันอังคารที่ ๒๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
วันอังคารที่ ๑๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
วันอาทิตย์ที่ ๑๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
2. การสื่อความหมาย หมายถึง
5. Elements หมายถึง
Elements หมายถึง องค์ประกอบย่อย ๆ พื้นฐานที่จำเป็นต้องมี เช่น สระ พยัญชนะ วรรณยุกต์ หรือสีแดง สีเหลือง เส้น ...
6. Structure หมายถึง
Structure หมายถึง โครงสร้างที่เกิดจากการนำเอาองค์ประกอบย่อย ๆมารวมกันตัวอย่าง เช่น คำ ประโยค หรือสีสันของรูปร่าง รูปทรง ฯลฯ ...
7. Content หมายถึง
Content หมายถึง เนื้อหาสาระ ตัวอย่าง เช่น วันลอยกระทง ,การสื่อความหมาย , การบวกลบเลข ...
8. Treatment หมายถึง
Treatment หมายถึง วิธีการเลือก การจัดรหัสและเนื้อหาให้อยู่ในรูปแบบที่จะสามารถ่ายทอดความต้องการของผู้ส่งไปยังผู้รับได้อย่างมีประสิทธิภาพซึ่งขึ้นอยู่กับแต่ละคนจะมีวิธีการหรือเทคนิคเฉพาะตัวอย่างไร เช่น ใช้สื่อประกอบ กิจกรรมต่าง ๆ เป็นต้น...
9. Code หมายถึง
รหัส คำพูดภาษาที่ใช้กัน เช่น ภาษาพูด ภาษาเขียน ดนตรี ภาษาวาด กิริยาท่าทาง เป็นต้น...
10. อุปสรรคหรือสิ่งรบกวนภายนอก
อุปสรรคหรือสิ่งรบกวนภายนอก เช่น เสียงดังรบกวน อากาศร้อน กลิ่นไม่พึงประสงค์ แสงแดดฝนสาด
ฯลฯ
ฯลฯ
10. อุปสรรคหรือสิ่งรบกวนภายนอก
อุปสรรคหรือสิ่งรบกวนภายนอก เช่น เสียงดังรบกวน อากาศร้อน กลิ่นไม่พึงประสงค์ แสงแดดฝนสาด
ฯลฯ...***
ฯลฯ...***
11. อุปสรรคหรือสิ่งรบกวนภายใน
อุปสรรคหรือสิ่งรบกวนภายใน เช่น ความเครียด อารมณ์ขุ่นมัว อาการเจ็บป่วย ความวิตกกังวล ฯลฯ***.
11. อุปสรรคหรือสิ่งรบกวนภายใน
อุปสรรคหรือสิ่งรบกวนภายใน เช่น ความเครียด อารมณ์ขุ่นมัว อาการเจ็บป่วย ความวิตกกังวล ฯลฯ***...
13. Decode หมายถึง
13. Decode หมายถึง
Decode หมายถึง ผู้รับขาดความสามารถในการถอดรหัสสาร อันเนื่องมาจากสาเหตุต่อไปนี้
เช่น อุปสรรคด้านภาษา ความขัดแย้งกับประสบการณ์เดิม ขีดจำกัดของประสาทสัมผัส
สภาพร่างกายไม่พร้อม การไม่ยอมรับ จินตภาพ (Image) ไม่ตรงกันกับผู้ส่งสาร...
สภาพร่างกายไม่พร้อม การไม่ยอมรับ จินตภาพ (Image) ไม่ตรงกันกับผู้ส่งสาร...
14. จงอธิบายการสื่อความหมายในการเรียนการสอนมาให้ครบถ้วนและถูกต้อง
1) ครูในฐานะเป็นส่งและผู้กำหนดจุดมุ่งหมายของระบบการสอน ครูจึงควรมีพฤติกรรมดังนี้
1.1 ต้องมีความเข้าใจในเนื้อหาที่จะสอนเป็นอย่างดี
1.2 มีความสามารถในการสื่อความหมาย เช่น การพูด การเขียน ลีลา ท่าทาง ฯลฯ
1.1 ต้องมีความเข้าใจในเนื้อหาที่จะสอนเป็นอย่างดี
1.2 มีความสามารถในการสื่อความหมาย เช่น การพูด การเขียน ลีลา ท่าทาง ฯลฯ
1.1 ต้องจัดบรรยากาศในการเรียนให้เอื้อต่อการเรียนรู้
1.2 ต้องวางแผนจัดระบบการถ่ายทอดความรู้ให้เหมาะสมกับเนื้อหาและผู้เรียน
2) เนื้อหา , หลักสูตร ตลอดจนทัศนคติ ทักษะ และประสบการณ์เป็นสิ่งสำคัญที่ครู จะถ่ายทอดไปสู่ผู้เรียนดังนั้นเนื้อหาควรมีลักษณะดังนี้
2.1 เหมาะสมกับเพศและวัยของผู้เรียน
2.2 สอดคล้องกับเทคนิค วิธีสอน หรือสื่อต่าง ๆ
2.3 เนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับกาลเวลา ควรปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่เสมอ
3) สื่อหรือช่องทาง เป็นตัวกลางหรือพาหนะที่จะนำเนื้อหาจากครูผู้สอนเข้าไปสู่ภายในของผู้เรียน ลักษณะของสื่อควรเป็นดังนี้
3.1 มีศักยภาพเหมาะสมกับธรรมชาติของเนื้อหา
3.2 สอดคล้องกับธรรมชาติของประสาทสัมผัสแต่ละช่องทาง
3.3 เด่น สะดุดดา ดูง่าย สื่อความหมายได้ดี
4) นักเรียนหรือผู้เรียน เป็นเป้าหมายหลักของกระบวนการเรียนการสอนที่จะทำให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้เรียนจึงควรมีลักษณะดังนี้
4.1 มีความสมบูรณ์ทางด้านร่างกาย โดยเฉพาะประสาทสัมผัสทั้ง 5
4.2 มีความพร้อมทางด้านจิตใจ อารมณ์มั่นคงปกติ
4.3 มีทักษะในการสื่อความหมาย
4.4 มีเจตคติต่อครูผู้สอนและเนื้อหาวิชา ...***
1.2 ต้องวางแผนจัดระบบการถ่ายทอดความรู้ให้เหมาะสมกับเนื้อหาและผู้เรียน
2) เนื้อหา , หลักสูตร ตลอดจนทัศนคติ ทักษะ และประสบการณ์เป็นสิ่งสำคัญที่ครู จะถ่ายทอดไปสู่ผู้เรียนดังนั้นเนื้อหาควรมีลักษณะดังนี้
2.1 เหมาะสมกับเพศและวัยของผู้เรียน
2.2 สอดคล้องกับเทคนิค วิธีสอน หรือสื่อต่าง ๆ
2.3 เนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับกาลเวลา ควรปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่เสมอ
3) สื่อหรือช่องทาง เป็นตัวกลางหรือพาหนะที่จะนำเนื้อหาจากครูผู้สอนเข้าไปสู่ภายในของผู้เรียน ลักษณะของสื่อควรเป็นดังนี้
3.1 มีศักยภาพเหมาะสมกับธรรมชาติของเนื้อหา
3.2 สอดคล้องกับธรรมชาติของประสาทสัมผัสแต่ละช่องทาง
3.3 เด่น สะดุดดา ดูง่าย สื่อความหมายได้ดี
4) นักเรียนหรือผู้เรียน เป็นเป้าหมายหลักของกระบวนการเรียนการสอนที่จะทำให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้เรียนจึงควรมีลักษณะดังนี้
4.1 มีความสมบูรณ์ทางด้านร่างกาย โดยเฉพาะประสาทสัมผัสทั้ง 5
4.2 มีความพร้อมทางด้านจิตใจ อารมณ์มั่นคงปกติ
4.3 มีทักษะในการสื่อความหมาย
4.4 มีเจตคติต่อครูผู้สอนและเนื้อหาวิชา ...***
15. จงอธิบายถึงความล้มเหลวของการสื่อความหมายในการเรียนการสอน
1) ครูผู้สอนไม่บอกวัตถุประสงค์ในการเรียนให้ผู้เรียนทราบก่อนลงมือสอบ ทำให้ผู้เรียนขาด
เป้าหมายในการเรียน
2) ครูผู้สอนไม่คำนึงถึงข้อจำกัดและขีดความสามารถของผู้เรียนแต่ละคน จึงมักใช้วิธีสอนแบบเดียวกันทุกคน
3) ครูผู้สอนไม่สนใจที่จะจัดบรรยากาศ ขจัดอุปสรรคและสร้างความพร้อมให้แก่ผู้เรียนก่อนลงมือสอน
4) ครูผู้สอนบางคนใช้คำยาก ทำให้ผู้เรียนไม่เข้าใจความหมายของคำ และเนื้อหาโดยรวม
5) ครูผู้สอนมักนำเสนอเนื้อหาวกวน สับสน รวดเร็ว ไม่สัมพันธ์ต่อเนื่อง กระโดดไปมาทำให้เข้าใจยาก
6) ครูผู้สอนไม่สนใจที่จะสื่อการสอนหรือเลือกใช้สื่อการสอนไม่เหมาะกับเนื้อหา และระดับของผู้เรียน ...
เป้าหมายในการเรียน
2) ครูผู้สอนไม่คำนึงถึงข้อจำกัดและขีดความสามารถของผู้เรียนแต่ละคน จึงมักใช้วิธีสอนแบบเดียวกันทุกคน
3) ครูผู้สอนไม่สนใจที่จะจัดบรรยากาศ ขจัดอุปสรรคและสร้างความพร้อมให้แก่ผู้เรียนก่อนลงมือสอน
4) ครูผู้สอนบางคนใช้คำยาก ทำให้ผู้เรียนไม่เข้าใจความหมายของคำ และเนื้อหาโดยรวม
5) ครูผู้สอนมักนำเสนอเนื้อหาวกวน สับสน รวดเร็ว ไม่สัมพันธ์ต่อเนื่อง กระโดดไปมาทำให้เข้าใจยาก
6) ครูผู้สอนไม่สนใจที่จะสื่อการสอนหรือเลือกใช้สื่อการสอนไม่เหมาะกับเนื้อหา และระดับของผู้เรียน ...
วันพุธที่ ๑๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
คำถามท้ายหน่วยการเรียนที่ 1
1. จงบอกความหมายของเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษามาอย่างถูกต้อง
"นวัตกรรม" หมายถึง ความคิดและการกระทำใหม่ๆที่นำมาใช้ในการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น สำหรันวัตกรรมทางการศึกษา หมายถึง ความคิดและวิธีการปฏิบัติใหม่ๆ ที่ส่งเสริมให้กระบวนการทางการศึกษามีประสิทธิภาพสูงขึ้น ...***
"นวัตกรรม" หมายถึง ความคิดและการกระทำใหม่ๆที่นำมาใช้ในการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น สำหรันวัตกรรมทางการศึกษา หมายถึง ความคิดและวิธีการปฏิบัติใหม่ๆ ที่ส่งเสริมให้กระบวนการทางการศึกษามีประสิทธิภาพสูงขึ้น ...***
2. จงยกตัวอย่างเทคโนโลยีและนวัตกรรมในสาขาต่าง ๆ มาอย่างน้อย 5 สาขา
ตัวอย่าง เทคโนโลยี คือ 1) เทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Technology) 2) เทคโนโลยีทางการเกษตร (Agricultural Technology) 3) เทคโนโลยีทางการค้า (Commercial Technology) 4) เทคโนโลยีทางการสื่อสาร (Communication Technology)
5) เทคโนโลยีทางวิศวกรรม (Engineering Technology) ตัวอย่าง นวัตกรรม คือ
1) การสอนผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2) การศึกษารายบุคคล 3) ระบบการสอนทางไกล 4) การสอนระบบเปิด 5) การศึกษานอกระบบโรงเรียน+++...
5) เทคโนโลยีทางวิศวกรรม (Engineering Technology) ตัวอย่าง นวัตกรรม คือ
1) การสอนผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2) การศึกษารายบุคคล 3) ระบบการสอนทางไกล 4) การสอนระบบเปิด 5) การศึกษานอกระบบโรงเรียน+++...
3. จงอธิบายเปรียบเทียบความหมายของเทคโนโลยีทางการศึกษาตามทัศนะทางวิทยาศาสตร์กายภาพและทัศนะทางพฤติกรรมศาสตร์ให้ชัดเจน
ทัศนะทางสื่อหรือวิทยาศาสตร์กายภาพ (Media or Physical Science concept) เป็นเทคโนโลยีที่มุ่งเน้นไปที่วัสดุ อุปกรณ์ หรือผลิตผลทางวิศวกรรม เป็นสำคัญแต่ไม่รวมวีธีการหรือปฏิสัมพันธ์อื่นๆ เพราะเห็นว่าการนำเอาเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุมาช่วยในกระบวนการเรียนการสอนทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายได้ง่ายขึ้นแต่ทัศนะทางพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral science concept) เป็นเทคโนโลยีที่มุ่งเน้นไปที่พฤติกรรมของมนุษย์เป็นสำคัญ โดยมองว่ามนุษย์มีการเรียนรู้อย่างไร มีความแตกต่างระหว่างบุคคลอย่างไร จะจัดการเรียนการสอนหรือการศึกษาให้สอดคล้องกับพฤติกรรมต่างๆ ได้อย่างไร จึงจะทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพเทคโนโลยีทางการศึกษาครอบคลุมกระบวนการศึกษา 4 ขั้น คือ 1. การตั้งจุดมุ่งหมายทางการศึกษาต้องเน้นพฤติกรรมที่จะวัด และสังเกตเห็นได้ 2. ต้องมีการวิเคราะห์ผู้เรียนในแง่ของความสำเร็จ ความพร้อม และอื่นๆ เพื่อจัดหลักสูตร และโครงการสอนให้เหมาะสมกับผู้เรียนแต่ละคน 3. วิธีการที่ครูใช้รวมทั้งวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องต้องปรับปรุงเปลี่ยนแปลงได้เหมาะสมกับจุดมุ่งหมายและ เนื้อหาระสบการณ์ที่ผู้เรียนจะต้องเรียน 4. การวัดและประเมินผลการเรียนและหลักสูตร***
4. จงบอกความหมายของการศึกษาตามความเข้าใจของบุคคลในระดับต่างๆ อย่างน้อย 3 ระดับ
1. บุคคลธรรมดาสามัญ อธิบายว่า การศึกษาเป็นการเล่าเรียนฝึกฝนและอบรม
2. บุคคลในวิชาชีพทางการศึกษา หมายความว่า การศึกษาเป็นศิลปะการถ่ายทอดความรู้จากอดีต ซึ่งจัดรวบรวมไว้เป็นหมวดหมู่อย่างมีระบบเพื่อให้บุคคลรุ่นหลังเข้าใจและนำไปปฏิบัติ 3. บุคคลที่เป็นนักการศึกษา นักการศึกษามีทัศนะเกี่ยวกับการศึกษาแตกต่างกัน จำแนกได้เป็น 2 ทัศนะคือ 3.1 ทัศนะแนวสังคมนิยม การศึกษาแนวสังคมนิยมให้ความสำคัญของส่วนรวมก่อนการศึกษา หมายถึง การปรับตัวให้เข้ากับสังคม ศาสนาเป็นการศึกษารูปแบบหนึ่ง การปฏิรูปตามศาสนา วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี เกี่ยวกับการปรับตัวให้เข้ากับสังคม ศาสนากับการศึกษาจึงมักรวมแนวทางกันเสมอ 3.2 ทัศนะเสรีนิยม การศึกษาคือ การมุ่งพัฒนาบุคคลแต่ละคนให้เจริญงอกงามเต็มที่ตามความสามารถที่เขามีอยู่แล้ว บุคคลที่ได้รับการศึกษานี้จะใช้ความสามารถของตนสร้างเสริมสังคมเอาเองในอนาคต สังคมประเภทนี้มักจะเปลี่ยนแปลงไปตามความคิดและความสามารถของบุคคลส่วนใหญ่แต่ละยุคแต่ละสมัย//**...
2. บุคคลในวิชาชีพทางการศึกษา หมายความว่า การศึกษาเป็นศิลปะการถ่ายทอดความรู้จากอดีต ซึ่งจัดรวบรวมไว้เป็นหมวดหมู่อย่างมีระบบเพื่อให้บุคคลรุ่นหลังเข้าใจและนำไปปฏิบัติ 3. บุคคลที่เป็นนักการศึกษา นักการศึกษามีทัศนะเกี่ยวกับการศึกษาแตกต่างกัน จำแนกได้เป็น 2 ทัศนะคือ 3.1 ทัศนะแนวสังคมนิยม การศึกษาแนวสังคมนิยมให้ความสำคัญของส่วนรวมก่อนการศึกษา หมายถึง การปรับตัวให้เข้ากับสังคม ศาสนาเป็นการศึกษารูปแบบหนึ่ง การปฏิรูปตามศาสนา วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี เกี่ยวกับการปรับตัวให้เข้ากับสังคม ศาสนากับการศึกษาจึงมักรวมแนวทางกันเสมอ 3.2 ทัศนะเสรีนิยม การศึกษาคือ การมุ่งพัฒนาบุคคลแต่ละคนให้เจริญงอกงามเต็มที่ตามความสามารถที่เขามีอยู่แล้ว บุคคลที่ได้รับการศึกษานี้จะใช้ความสามารถของตนสร้างเสริมสังคมเอาเองในอนาคต สังคมประเภทนี้มักจะเปลี่ยนแปลงไปตามความคิดและความสามารถของบุคคลส่วนใหญ่แต่ละยุคแต่ละสมัย//**...
5. เทคโนโลยีการศึกษามีกี่ระดับ แต่ละระดับมีความหมายว่าอย่างไร จงอธิบายพอเข้าใจ
1. ระดับอุปกรณ์การสอน เป็นการใช้เทคโนโลยีในระดับเครื่องช่วยการสอนของครู(Teacher’s Aid) เป็นการเร้าความสนใจของนักเรียน ขยายความเข้าใจให้แจ่มแจ้ง เป็นการเพิ่มสัมผัสจากการใช้หูฟังครูพูดอย่างเดียว ให้มีสัมผัสหลายทางโดยการใช้ภาพใช้เสียงจากเสียงจริงหรือใช้วัสดุจำลอง 2. ระดับวิธีสอน เป็นการใช้เทคโนโลยีแทนการสอนของครูด้วยตัวเอง โดยผู้สอนไม่จำเป็นจะต้องอยู่ในสถานที่แห่งเดียวกับผู้เรียนเสมอไป เช่นการสอนทางไกลโดยใช้วิทยุ โทรทัศน์หรือเอกสารทางไปรษณีย์ การใช้เทคโนโลยีระดับนี้บทบาทของครูต่อหน้าผู้เรียนลดลงมีผลดีในแง่การจัดกิจกรรม การใช้เครื่องมือ การสร้างบรรยากาศชวนสนใจ แต่มีข้อเสีย คือ ไม่มีความผูกพันระหว่างครูกับผู้เรียน 3. ระดับการจัดระบบการศึกษา เป็นการใช้เทคโนโลยีการศึกษาระดับกว้าง สามารถจัดระบบการศึกษาตอบสนองผู้เรียนได้จำนวนมาก เช่น ระบบการสอนทางไกลของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช มีผู้เรียนทั่วประเทศแต่ผู้เรียนอาจจะไม่เคยเห็นผู้สอนตัวจริงเลย มีแต่ผู้บรรยายทางโทรทัศน์ เทคโนโลยีระดับนี้มีองค์ประกอบที่สำคัญ เช่นงานบริหารการศึกษา งานพัฒนาการศึกษา สี่อการศึกษา เป็นต้น +++.
วันอาทิตย์ที่ ๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
6. จงอธิบายข้อแตกต่างและความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีและนวัตกรรมให้ชัดเจน
เทคโนโลยี หมายถึง การนำเอาขบวนการ วิธีการ และแนวความคิดใหม่ ๆ มาใช้หรือประยุกต์ใช้อย่างมีระบบเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
นวัตกรรม หมายถึง แนวคิด เทคนิควิธี กิจกรรม วัสดุ เครื่องมือ อุปกรณ์ใหม่ ๆ ที่นำมาใช้แก้ปัญหาในการทำงาน ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น ช่วยให้ผลงานดีขึ้น หรือ เป็นที่พอใจมากขึ้น ....
นวัตกรรม หมายถึง แนวคิด เทคนิควิธี กิจกรรม วัสดุ เครื่องมือ อุปกรณ์ใหม่ ๆ ที่นำมาใช้แก้ปัญหาในการทำงาน ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น ช่วยให้ผลงานดีขึ้น หรือ เป็นที่พอใจมากขึ้น ....
วันอังคารที่ ๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
7.จงบอกถึงขั้นตอนในการเกิดนวัตกรรมมาให้ถูกต้อง
8. จงบอกถึงบทบาทของเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษากับการจัดการเรียนการสอนมาอย่างน้อย 5 ข้อ
1. ช่วยให้ผู้เรียนเรียนได้กว้างขวางมากขึ้นได้เห็นหรือได้สัมผัสกับสิ่งที่เรียนและเข้าใจได้อย่างสมบูรณ์และยังทำให้ผู้สอนมีเวลาแก่
ผู้เรียนมากขึ้น
2. สามารถสนองเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคล ผู้เรียนมีอิสระในการแสวงหาความรู้มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมมากขึ้น
ผู้เรียนได้เรียนตามความสามารถตามความสนใจและความต้องการของแต่ละบุคคล
3. ให้การจัดการศึกษาดีขึ้นมีการค้นคว้าวิจัย ทดลอง ค้นพบวิธีการใหม่ๆ ตามสภาพความเปลี่ยนแปลง
4. มีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาสื่อการสอนให้มีคุณค่าและสะดวกต่อการใช้มากขึ้น
5. ทำให้การเรียนรู้ไม่เน้นเฉพาะด้านความรู้เพียงอย่างเดียวแต่เน้นด้านทัศนะหรือเจตคติและทักษะแก่ผู้เรียนด้วย เช่น การเรียนผ่านทางโทรทัศน์ ภาพยนตร์ สไลด์ ชุดการสอนกระบวนการกลุ่ม เป็นต้น ...
ผู้เรียนมากขึ้น
2. สามารถสนองเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคล ผู้เรียนมีอิสระในการแสวงหาความรู้มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมมากขึ้น
ผู้เรียนได้เรียนตามความสามารถตามความสนใจและความต้องการของแต่ละบุคคล
3. ให้การจัดการศึกษาดีขึ้นมีการค้นคว้าวิจัย ทดลอง ค้นพบวิธีการใหม่ๆ ตามสภาพความเปลี่ยนแปลง
4. มีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาสื่อการสอนให้มีคุณค่าและสะดวกต่อการใช้มากขึ้น
5. ทำให้การเรียนรู้ไม่เน้นเฉพาะด้านความรู้เพียงอย่างเดียวแต่เน้นด้านทัศนะหรือเจตคติและทักษะแก่ผู้เรียนด้วย เช่น การเรียนผ่านทางโทรทัศน์ ภาพยนตร์ สไลด์ ชุดการสอนกระบวนการกลุ่ม เป็นต้น ...
9. จงยกตัวอย่างนวัตกรรมทางการศึกษาในปัจจุบันมาอย่างน้อย 3 ชนิด
1. ชุดการสอน (Instructional Package) การนำระบบสื่อประสม ที่สอดคล้องกับเนื้อหาและประสบการณ์ของแต่ละหน่วย มาช่วยให้การเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนรู้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ชุดการสอนนิยมจัดไว้ในกล่องหรือซองเป็นหมวด ๆ ภายในชุดการสอนจะประกอบด้วย คู่มือการใช้ชุดการสอน สื่อการสอนที่สอดคล้องกับเนื้อหาและประสบการณ์ อาทิ รูปภาพ สไลด์ เทป ภาพยนตร์ขนาด 8 มม. แผ่นคำบรรยาย วัสดุอุปกรณ์ การสาธิต (หากมี) ฯลฯ และการมอบหมายงานเพื่อให้ผู้เรียนมีประสบการณ์กว้างขวางขึ้น
ชุดการสอนแบ่งได้ออกเป็น 4 ประเภท คือ
1) ชุดการสอนประกอบการบรรยายของครู ชุดการสอนประเภทนี้บทบาทหลักจะอยู่ที่ผู้สอน ในการที่จะดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอนตามที่กำหนดไว้ในชุดการสอน 2) ชุดการสอนรายบุคคล สำหรับผู้เรียนจะเรียนด้วยตนเองโดยจะรับชุดการสอนไปเรียนด้วยตนเอง โดยใช้เวลาตามความสามารถของตนเอง
ชุดการสอนแบ่งได้ออกเป็น 4 ประเภท คือ
1) ชุดการสอนประกอบการบรรยายของครู ชุดการสอนประเภทนี้บทบาทหลักจะอยู่ที่ผู้สอน ในการที่จะดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอนตามที่กำหนดไว้ในชุดการสอน 2) ชุดการสอนรายบุคคล สำหรับผู้เรียนจะเรียนด้วยตนเองโดยจะรับชุดการสอนไปเรียนด้วยตนเอง โดยใช้เวลาตามความสามารถของตนเอง
3) ชุดการสอนแบบกิจกรรมกลุ่ม หรือแบบศูนย์การเรียน ชุดการสอนแบบนี้ผู้เรียนจะเรียนเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ประมาณ 4-6 คน โดยผู้เรียนจะช่วยกันศึกษาเนื้อหา ทำกิจกรรมต่าง ๆ จากสื่อที่เตรียมไว้ในชุดการสอน ผู้สอนจะเป็นเพียงผู้ช่วยเหลือให้คำแนะนำเมื่อมีปัญหาในการเรียน
4) ชุดการสอนทางไกล ชุดการสอนแบบนี้เป็นชุดการสอนที่ผู้เรียนจะเรียนด้วยตนเอง แต่มีข้อแตกต่างกับชุดการสอนรายบุคคล ในส่วนที่ชุดการสอนรายบุคคล ผู้สอนจะเป็นผู้เก็บรวบรวมไว้ที่ผู้สอน ผู้เรียนจะมาพบผู้สอนเพื่อขอศึกษาเนื้อหาจากชุดการสอนที่ผู้เรียนเตรียมไว้ ขณะที่ชุดการสอนทางไกล ผู้เรียนจะเก็บรวบรวมชุดการสอนไว้กับตนเอง ตัวอย่างชุดการสอนทางไกลที่เห็นได้ชัดเจนที่สุดก็คือ ชุดการสอนทางไกลของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช หรือชุดการสอนทางไกลของกรมการศึกษานอกโรงเรียน
2. การสอนแบบโปรแกรม (Program Instruction) เป็นระบบการเรียนการสอนที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียน ประกอบกิจกรรมการเรียนด้วยตนเองตามเนื้อหาซึ่งจัดไว้เป็นขั้นตอนแรก ๆ ผู้เรียนมีโอกาสประเมินผลการเรียนรู้ด้วยตนเอง ผู้เรียนจะเรียนตามความสนใจและความสามารถของตนเอง
3. การศึกษาทางไกล ระบบการเรียนการสอนที่ไม่มีชั้นเรียน แต่อาศัยสื่อประสมอันได้แก่สื่อทางไปรษณีย์ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์และการสอนเสริม รวมทั้งศูนย์บริการการศึกษาเป็นหลัก โดยมุ่งให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองอยู่กับบ้านไม่ต้องมาเข้าชั้นเรียนตามปกติ
สื่อการสอนที่ใช้อาจแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1)สื่อสิ่งพิมพ์ เป็นสื่อประเภทสิ่งพิมพ์ได้แก่ เอกสารตำรา แบบฝึกปฏิบัติ ผู้เรียนจะอาศัยสื่อสิ่งพิมพ์เป็นสื่อหลักเนื่องจากราคาถูก เก็บได้นานและไม่จำเป็นต้องใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ประกอบ 2)สื่อโสตทัศนูปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ นับได้ว่าเป็นสื่อรองจากสื่อสิ่งพิมพ์ที่จะช่วยในการเสริมความรู้ในกระบวนการเรียนของผู้เรียน โดยอาจจะเป็นการสอนทางโทรทัศน์ เทปเสียงบรรยาย เทปวีดิทัศน์ รายการวิทยุกระจายเสียง
2. การสอนแบบโปรแกรม (Program Instruction) เป็นระบบการเรียนการสอนที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียน ประกอบกิจกรรมการเรียนด้วยตนเองตามเนื้อหาซึ่งจัดไว้เป็นขั้นตอนแรก ๆ ผู้เรียนมีโอกาสประเมินผลการเรียนรู้ด้วยตนเอง ผู้เรียนจะเรียนตามความสนใจและความสามารถของตนเอง
3. การศึกษาทางไกล ระบบการเรียนการสอนที่ไม่มีชั้นเรียน แต่อาศัยสื่อประสมอันได้แก่สื่อทางไปรษณีย์ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์และการสอนเสริม รวมทั้งศูนย์บริการการศึกษาเป็นหลัก โดยมุ่งให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองอยู่กับบ้านไม่ต้องมาเข้าชั้นเรียนตามปกติ
สื่อการสอนที่ใช้อาจแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1)สื่อสิ่งพิมพ์ เป็นสื่อประเภทสิ่งพิมพ์ได้แก่ เอกสารตำรา แบบฝึกปฏิบัติ ผู้เรียนจะอาศัยสื่อสิ่งพิมพ์เป็นสื่อหลักเนื่องจากราคาถูก เก็บได้นานและไม่จำเป็นต้องใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ประกอบ 2)สื่อโสตทัศนูปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ นับได้ว่าเป็นสื่อรองจากสื่อสิ่งพิมพ์ที่จะช่วยในการเสริมความรู้ในกระบวนการเรียนของผู้เรียน โดยอาจจะเป็นการสอนทางโทรทัศน์ เทปเสียงบรรยาย เทปวีดิทัศน์ รายการวิทยุกระจายเสียง
3)สื่ออิเล็กทรอนิกส์และระบบโทรคมนาคม เนื่องจากการพัฒนาการของอิเล็กทรอนิกส์และระบบโทรคมนาคมเป็นไปอย่างรวดเร็ว จึงมีการนำเอามาใช้ในการจัดการศึกษาทางไกล โดยใช้ระบบดาวเทียมและท่อใยแก้วนำแสงในการส่งข่าวสารข้อมูล มีการนำคอมพิวเตอร์มาใช้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่ง ...
10. จงอธิบายถึงสาเหตุของการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ทางการศึกษาอย่างน้อย 3 ข้อ
1. การเพิ่มจำนวนประชากร เป็นสาเหตุที่สำคัญที่ก่อให้เกิดปัญหาด้านต่างๆ เช่น การขาดแคลนอาหาร ที่อยู่อาศัย สถานที่เรียน ครู สื่อการสอน เป็นต้น ทำให้การจัดการศึกษาเป็นไปไม่ทั่วถึง
2. การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม เป็นปัญหาที่ต่อเนื่องจากการเพิ่มประชากรโดยตรง ทำให้สภาพเศรษฐกิจและสังคมเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว การต่อสู้ดิ้นรน การแข่งขันสูงขึ้น การศึกษาจำเป็นต้องได้รับการปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงให้ทันกับเหตุการณ์อยู่เสมอเพื่อให้ผู้ที่ได้รับการศึกษาสามารถดำเนินชีวิตอยู่ได้ในสังคมได้อย่างมีความสุขและก้าวหน้าต่อไป
3. ความก้าวหน้าทางด้านวิทยากรใหม่ ๆ
การศึกษาค้นคว้าเพื่อหาวิธีแก้ปัญหาที่เป็นผลกระทบมากจากการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจและสังคมทำให้พบวิทยาการใหม่ ๆหลากหลาย ด้านการศึกษาจำเป็นต้องได้รับการปรับปรุงหลักสูตร เนื้อหา และวิธีสอนเพื่อให้ทันกับเครื่องมือและวิธีการที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เช่น การสอนที่เคยเน้นการท่องจำต้องปรับปรุงให้รู้จักคิดเน้นกระบวนการ (Process Learning) ดังนั้น จึงนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในรูปของการสอนแบบสืบสวนสอบสวน (Inauily Method) ...
2. การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม เป็นปัญหาที่ต่อเนื่องจากการเพิ่มประชากรโดยตรง ทำให้สภาพเศรษฐกิจและสังคมเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว การต่อสู้ดิ้นรน การแข่งขันสูงขึ้น การศึกษาจำเป็นต้องได้รับการปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงให้ทันกับเหตุการณ์อยู่เสมอเพื่อให้ผู้ที่ได้รับการศึกษาสามารถดำเนินชีวิตอยู่ได้ในสังคมได้อย่างมีความสุขและก้าวหน้าต่อไป
3. ความก้าวหน้าทางด้านวิทยากรใหม่ ๆ
การศึกษาค้นคว้าเพื่อหาวิธีแก้ปัญหาที่เป็นผลกระทบมากจากการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจและสังคมทำให้พบวิทยาการใหม่ ๆหลากหลาย ด้านการศึกษาจำเป็นต้องได้รับการปรับปรุงหลักสูตร เนื้อหา และวิธีสอนเพื่อให้ทันกับเครื่องมือและวิธีการที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เช่น การสอนที่เคยเน้นการท่องจำต้องปรับปรุงให้รู้จักคิดเน้นกระบวนการ (Process Learning) ดังนั้น จึงนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในรูปของการสอนแบบสืบสวนสอบสวน (Inauily Method) ...
11. จงอธิบายถึงแนวคิดในการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมกับการศึกษาไทยอย่างน้อย 5 ข้อ
1. คนไทยส่วนใหญ่ไม่นับถือตนเอง
คนไทยส่วนใหญ่ขาดความเชื่อมั่นและไม่นับถือตนเอง ในภาพการเรียนการสอนที่ครูเป็นศูนย์กลาง ครูไม่สามารถเอาใจใส่ผู้เรียนได้อย่างทั่วถึง ผู้เรียนบางคนไม่มีโอกาสตอบคำถามครูเลย ผู้เรียนส่วนใหญ่ต้องออกจากโรงเรียนเมื่อจบชั้นเรียนภาคบังคับและไม่มีโอกาสเรียนต่อทำให้ผู้เรียนเกิดปมด้อย ขาดความเชื่อมั่น การจัดการศึกษาควรให้ผู้เรียนได้เป็นศูนย์กลางและทำงานที่เป็นผลสำเร็จด้วยตนเองและได้รับคำชมเชยจากเพื่อนๆ ครูและผู้อื่น
2. การไม่เห็นคุณค่าของสิ่งแวดล้อม
ในอดีตหลักสูตรบรรจุเนื้อหาวิชาและประสบการณ์ที่ไม่เอื้อต่อผู้เรียนในส่วนภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศ
การจัดการศึกษาควรสนองความต้องการของคนแต่ละภาคเพื่อให้เขาได้ชื่นชมกับสิ่งแวดล้อมอันได้แก่ วัฒนธรรมต่าง ๆ รู้จักปรับปรุงความเป็นอยู่ การกิน การเพาะปลูก อุตสาหกรรม เกษตรกรรม และรักถิ่นฐานของตนเอง ไม่พากันหลั่งไหลเข้ามาแต่ในเมืองหลวง การไม่เห็นคุณค่าของสิ่งแวดล้อมของคนไทยนั้น รวมถึงการไม่ยอมรับความสามารถของคนไทยด้วยกันเองอีกด้วย
3. การขาดลักษณะที่พึงประสงค์
มนุษย์เกิดมาภายใต้อิทธิพลของพันธุกรรมสิ่งแวดล้อมลักษณะที่ไม่ดีต่าง ๆ เช่น ความโลภ ความหลง ความเห็นแก่ตัว และสันดานดิบของมนุษย์ การศึกษาที่จัดอย่างเป็นระบบที่ดีจะทำให้คนมีคุณภาพและควบคุมพฤติกรรมของตนเองให้เหมาะสม ลดปริมาณสันดานดิบต่าง ๆ ลงตามลำดับ การศึกษาในระบบเดิมนอกจากไม่สามารถลดปริมาณสันดานดิบของผู้เรียนลงได้แล้วยังมีผลต่อเนื่องให้ผู้สำเร็จการศึกษาขาดลักษณะที่พึงประสงค์ 5 ประการอีกด้วย คือ
1) กล้าและรู้จักแสดงความคิดเห็น
2) สามารถตัดสินใจได้ด้วยตนเอง
3) รู้จักทำงานร่วมกันเป็นหมู่อย่างมีประสิทธิภาพ
4) รู้จักแสวงหาความรู้เอง
5) มีความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและสังคม ...**
คนไทยส่วนใหญ่ขาดความเชื่อมั่นและไม่นับถือตนเอง ในภาพการเรียนการสอนที่ครูเป็นศูนย์กลาง ครูไม่สามารถเอาใจใส่ผู้เรียนได้อย่างทั่วถึง ผู้เรียนบางคนไม่มีโอกาสตอบคำถามครูเลย ผู้เรียนส่วนใหญ่ต้องออกจากโรงเรียนเมื่อจบชั้นเรียนภาคบังคับและไม่มีโอกาสเรียนต่อทำให้ผู้เรียนเกิดปมด้อย ขาดความเชื่อมั่น การจัดการศึกษาควรให้ผู้เรียนได้เป็นศูนย์กลางและทำงานที่เป็นผลสำเร็จด้วยตนเองและได้รับคำชมเชยจากเพื่อนๆ ครูและผู้อื่น
2. การไม่เห็นคุณค่าของสิ่งแวดล้อม
ในอดีตหลักสูตรบรรจุเนื้อหาวิชาและประสบการณ์ที่ไม่เอื้อต่อผู้เรียนในส่วนภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศ
การจัดการศึกษาควรสนองความต้องการของคนแต่ละภาคเพื่อให้เขาได้ชื่นชมกับสิ่งแวดล้อมอันได้แก่ วัฒนธรรมต่าง ๆ รู้จักปรับปรุงความเป็นอยู่ การกิน การเพาะปลูก อุตสาหกรรม เกษตรกรรม และรักถิ่นฐานของตนเอง ไม่พากันหลั่งไหลเข้ามาแต่ในเมืองหลวง การไม่เห็นคุณค่าของสิ่งแวดล้อมของคนไทยนั้น รวมถึงการไม่ยอมรับความสามารถของคนไทยด้วยกันเองอีกด้วย
3. การขาดลักษณะที่พึงประสงค์
มนุษย์เกิดมาภายใต้อิทธิพลของพันธุกรรมสิ่งแวดล้อมลักษณะที่ไม่ดีต่าง ๆ เช่น ความโลภ ความหลง ความเห็นแก่ตัว และสันดานดิบของมนุษย์ การศึกษาที่จัดอย่างเป็นระบบที่ดีจะทำให้คนมีคุณภาพและควบคุมพฤติกรรมของตนเองให้เหมาะสม ลดปริมาณสันดานดิบต่าง ๆ ลงตามลำดับ การศึกษาในระบบเดิมนอกจากไม่สามารถลดปริมาณสันดานดิบของผู้เรียนลงได้แล้วยังมีผลต่อเนื่องให้ผู้สำเร็จการศึกษาขาดลักษณะที่พึงประสงค์ 5 ประการอีกด้วย คือ
1) กล้าและรู้จักแสดงความคิดเห็น
2) สามารถตัดสินใจได้ด้วยตนเอง
3) รู้จักทำงานร่วมกันเป็นหมู่อย่างมีประสิทธิภาพ
4) รู้จักแสวงหาความรู้เอง
5) มีความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและสังคม ...**
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)